Solution for e-book piracy (วิธีแก้ไขปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ e-book)
ในหลายบริษัทมีการใช้รูปแบบไฟล์ที่เฉพาะเจาะจงกับcode หรือรหัส e-book ของพวกเขา ซึ่งเรียกว่า DRM ย่อมาจาก digital rights management หมายถึง การจัดการลิขสิทธิ์ดิจิตอล ตัวอย่าง เช่น Amazon มีการป้องกัน e-book ของพวกเขาโดยการวางไว้ในรูปแบบ AZW format ดังนั้นพวกเขาจึงไม่สามารถอ่านได้ใน e-readers อื่น ๆนอกจากอ่านใน Kindle เท่านั้น
Can DRM be cracked?
DRM สามารถทำการ cracked ได้ เช่นเดียวกับข้อจำกัดของไฟล์ชนิดอื่นๆ กับซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์และมีความคงทนซึ่งเกือบทุกอย่างสามารถทำการ cracked ได้
ข้อด้อยของ e-book
1. ต้องมีเครื่องอ่าน
e - book ต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น อุปกรณ์ต่อพ่วงและซอฟต์แวร์ที่สามารถเข้ากันได้เพื่อใช้ในการแสดงผล
2. อ่านได้เฉพาะเครื่องอ่าน
ในขณะที่ e - book จำเป้นต้องใช้อุปกรณ์พ่อพ่วงเพื่อให้สามารถอ่านได้ ดังนั้นมันจึงสามารถรับผลกระทบจากความผิดพลาดจากภายนอกฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ได้ เช่น ฮาร์ดดิสก์ล้มเหลว เป็นต้น
3. ต้องใช้พลังงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ของ e - book ทั้งหมดต้องใช้พลังงานไฟฟ้า
4. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์บางเล่ม (ไฟล์)อาจไม่สามารถใช้กับเครื่องรุ่นใหม่ได้
เนื่องจาก e - book บางรุ่นอาจจะล้าสมัยหรือตกรุ่นไปแล้วจึงทำให้ไม่สามารถเข้ากันกับอุปกรณ์ที่ใหม่กว่าได้
5. หายง่าย
ผู้อ่านหนังสือมีแนวโน้มที่จะถูกขโมย e-book มากกว่าหนังสือที่เป็นกระดาษ
6. เปราะบางเสียหายง่าย
เนื่องจากไฟล์อิเล็กทรอนิกส์จะสามารถถูก Hack และ Crack ได้ง่าย
1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดแรกจะอยู่ในพื้นฐานรูปแบบของกระดาษสิ่งพิมพ์และจากนั้นจึงได้เปลี่ยนเป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น Gutenberg Project และศูนย์ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic text Center) ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทที่สองได้แปลงข้อมูลดิจิทัลในอยู่รูปแบบซีดี และเปลี่ยนให้เป็นรูปแบบ
HTML ที่สามารถเข้ากันได้ เช่นสารานุกรม Americana (http://ea.grolier.com/ea- online/static/search.htm)
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ประเภทสุดท้ายเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นระบบดิจิตอลตั้งแต่ต้น หรือ
เรียกอีกอย่างว่า Born Digital
Optical Character Recognition - OCR เป็นโปรแกรมอ่าน Text จากภาพ
โดยการนำข้อมูลจากหนังสือ มาทำการ Scan ด้วยเครื่อง Scanner จากนั้นใช้โปรแกรมประเภท OCR (Optical Character Recognition) มาทำการแปลงภาพที่ได้ ให้อยู่ในรูปแบบของ MS Word จากนั้นก็จะสามารถนำมาแต่งเพิ่มเติมได้ ยกตัวอย่าง โปรแกรม Omnipage และThai OCR (www.nectec.or.th)
Book Scanner
Book Scanner
การจัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Publishing model)
1. จัดทำส่วนบุคคล (Self-publishing)
2. จัดทำเพื่อการค้า (Commercial)
3. จัดทำเพื่อการศึกษา (Educational)
1. จัดทำส่วนบุคคล (Self-publishing)
จัดทำโดยผู้แต่งโดยตรง เช่น
Stephen King’s novels (http://www.stephenkingnews.com/)
หรือโดยตัวกลางจัดจำหน่าย เช่น
Amazon (http://www.amazon.com)
Barnes & Noble (http://www.barnesandnoble.com/).
Fatbrain (http://www.fatbrain.com) offers an “eMatter Initiative”
ซึ่งในที่นี้ผู้แต่งสามารถจัดทำได้บนอินเทอร์เน็ต
2. จัดทำเพื่อการค้า (Commercial)
นำไปใช้กับการตลาดเชิงพาณิชย์และต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับใบอนุญาตจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
3. จัดทำเพื่อการศึกษา (Educational)
เป็นการเผยแพร่เพื่อการศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยได้ทำการเผยแพร่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับหลักสูตรการเรียนการสอนของพวกเขา เช่น ตำราเรียน
- John Hopkins University Press - Oxford University Press
- Cambridge University Press
ซอฟต์แวร์สำหรับการจัดทำ
- ExeBook Self-Publisher
- e-ditor
- Mobipocket Publisher 3.0
- Desktop Author
- eBookGold
- E Book crator
- Flip Alablum
ส่วนมากซอฟแวร์เหล่านี้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อมาใช้ แต่ก็ยังมี ซอฟแวร์ e-ditor ที่เป็น OSS ที่สามารถโหลดมาใช้งานฟรีได้
E-Book And Library
ข้อดี สำหรับห้องสมุดCooperative
สามารถจัดการรูปแบบของความร่วมมือในการจัดซื้อ ประหยัดงบประมาณ และสามารถเข้า
ถึงสารนเทศได้ในปริมาณที่มากขึ้น
Better Access ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้จำนวนมากขึ้นในครั้งเดียวกัน และ มีรูปแบบหลากหลายให้เลือก
txt pdf html dll ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมตามเครื่องมือที่มีสำหรับเปิดดู
Delivery to user สามารถสนองความต้องการที่มีความต้องการได้ข้อมูลทันที VS ช้า
Cost and variable format
ราคาถูกกว่าสิ่งพิมพ์ และรูปแบบการจัดทำสะดวกที่ห้องสมุดไม่จำเป็นที่ต้องซื้อในรูปแบบที่หลากหลายเหมือนหนังสือ Bound book, text book, large print version
Storage
การจัดเก็บสามารถจัดเก็บได้สะดวกขึ้นเนื่องจากสามารถทำสำเนาได้ง่าย และ ไม่เปลืองกระดาษและไม่ต้องทำซ้ำซ้อน ไม่เปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บ
Expanding collections
การบอกรับห้องสมุดเป็นลักษณะการได้รับอนุญาตให้ใช้ (license) จึงสามารถบอกเลิก บอกรับต่อเนื่อง หรือจัดซื้อเป็นเจ้าของหากผู็ใช้ต้องการมาก
Staff efficiency ลดงาน เช่น การลงรายการ การขึ้นชั้น การตรวจชั้น ยืม คืน การดูแลรักษา
Author/Publisher
ห้องสมุดสามารถจัดทำสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ และสามารถให้บริการออนไลน์ได้ และมีเทคโนโลยีใหม่ที่ห้องสมุดทำมาใช้ในการให้บริการได้มากขึ้น เช่น Blog, WIKI, RSS, OSS
ข้อเสีย
Technical and management problems
- ขั้นตอนการจัดทรัพยากรในรูปแบบใหม่ develop acquisition and circulation models
- บุคลากร ต้องได้รับการฝึกฝนใหม่ เกี่ยวกับการจัดการให้บริการ หรือต้องการบุคคลากรกลุ่มใหม่
- อุปกรณ์สำหรับร่วมใช้อาจต้องเพิ่มงบประมาณ จัดซื้อ และดูแลรักษา
- การดูแลรักษา อุปกรณ์ที่ต้องให้บริการร่วม Reader device
- ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการขาด reader device
- ผู้ใช้ต้องได้รับการอบรม
- การจัดซื้อ การจัดซื้อโดยตรงจากผู้จำหน่าย ผ่าน เครดิตการ์ด ซึ่งเป็นปัญหาสำหรับห้องสมุด
Development model
- การจัดบริการเป็นเรื่องใหม่
- ผู้ผลิต ผู้จัดทำ
> อาจไม่มุ่งจัดทำสำหรับห้องสมุด ต้องทำการปรับ หรือ จัดการให้บริการ
> การจัดทำต่างรูปแบบ การให้บริการ การเข้าถึงที่หลากหลาย
- ต้องเข้าใจวิธีการตกลง ดูแลเกี่ยวกับการเข้าถึง และ การให้บริการที่ต้องทำการตกลงกับผู้ให้บริการ
- การดูแลเกี่ยวกับสิทธิของการใช้
Resistance to change
- Staff & user
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น